CERTIFICATE OF ORIGIN ( CO )
- 11 Oct 2019
ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (Certificate of Origin) เป็นเอกสารใช้เพื่อรับรองสินค้าของผู้ส่งออกว่าส่งออกมาจากประเทศใด และปฏิบัติได้ถูกต้องตามกฎที่ว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า สืบเนื่องจากหลายๆประเทศมีการใช้มาตรการกีดกันทางการค้า ทำให้เวลานำเข้าสินค้าบางชนิดในบางประเทศนั้น จำเป็นที่จะต้องแสดงว่าสินค้านั้นส่งออกหรือผลิตมาจากประเทศใด หากตรงกับเงื่อนไขถึงจะสามารถนำเข้าได้
หน่วยงานภาครัฐของไทยที่มีอำนาจในการออกใบรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าหรือสัญชาติของสินค้า คือ กรมการค้าต่างประเทศ และกระทรวงพาณิชย์
หนังสือรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าทั่วไป คือเอกสารที่นำไปใช้รับรองถิ่นกำเนิดสินค้า แต่ไม่สามารถนำไปขอยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีอากรขาเข้าได้ เรียกว่า Ordinary Certificate of Origin
2. หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าแบบพิเศษ ที่นำไปใช้เพื่อขอรับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (ขอยกเว้น หรือลดหย่อนภาษีอากรขาเข้า) เรียกว่า Preferential Certificate of Origin
อ้างอิงจาก https://www.chiefoversea.com
ผู้ส่งออกสามารถที่จะติดต่อกับหอการค้าไทย ได้โดยจัดเตรียมเอกสารขึ้นทะเบียน ดังนี้
1. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนหรือสำเนาหนังสือเดินทาง (Passport) ของผู้มีอำนาจผูกพันบริษัท
(กรรมการผู้จัดการ) ตามหนังสือรับรอง กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
2. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ของผู้รับมอบอำนาจ
3. สำเนาเอกสารอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ร.ง. 4 หรือ ร.ง. 2 หรือ กนอ. (กรณีมีโรงงานผลิต)
4. สัญญายินยอมรับผิด (เลือกชุดเอกสารที่ตรงกับประเภทบริษัทของท่าน)
4. สัญญายินยอมรับผิด (เลือกชุดเอกสารที่ตรงกับประเภทบริษัทของท่าน)
- กรณีไม่มีโรงงานผลิต จำนวน 2 ชุด
- กรณีมีโรงงานผลิต จำนวน 2 ชุด
- กรณีมีโรงงานผลิต จำนวน 2 ชุด
5. สถานที่ตั้ง (แนบแผนที่)
อ้างอิงจาก https://www.thaichamber.org/th/home/mainpage/3/5
เอกสารที่ใช้ยื่นขอ Certificate of Origin
1. ใบสมัครใช้บริการ
2. หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล พร้อมวัตถุประสงค์แนบ อายุไม่เกิน 6 เดือน
3. ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.20)
4. ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (รง.4 / แบบ กนอ.)
5. ใบรับรองมาตรฐานโรงงาน
6. หนังสือมอบอำนาจ (พร้อมสำเนาบัตรประชาชนผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบ)
7. หนังสือยอมรับผิด
สามารถดาวโหลดแบบฟอร์มตามลิงค์ “ https://drive.google.com/file/d/1iU34FeCAfe3Ue12w-ISY078wDlW4-3yr/view ”
อัตราค่าบริการ
ค่ารับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (Certificate of Origin:CO)
สมาชิก 190 บาท / ชุด ไม่เป็นสมาชิก 240 บาท / ชุด
ขั้นตอนการขอ Certificate of Origin ทางออนไลน์
อ้างอิงจาก https://www.thaichamber.org/th/home/mainpage/3/5
เอกสารที่ใช้ยื่นขอ Certificate of Origin
1. ใบสมัครใช้บริการ
2. หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล พร้อมวัตถุประสงค์แนบ อายุไม่เกิน 6 เดือน
3. ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.20)
4. ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (รง.4 / แบบ กนอ.)
5. ใบรับรองมาตรฐานโรงงาน
6. หนังสือมอบอำนาจ (พร้อมสำเนาบัตรประชาชนผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบ)
7. หนังสือยอมรับผิด
สามารถดาวโหลดแบบฟอร์มตามลิงค์ “ https://drive.google.com/file/d/1iU34FeCAfe3Ue12w-ISY078wDlW4-3yr/view ”
อัตราค่าบริการ
ค่ารับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (Certificate of Origin:CO)
สมาชิก 190 บาท / ชุด ไม่เป็นสมาชิก 240 บาท / ชุด
ขั้นตอนการขอ Certificate of Origin ทางออนไลน์
หลังจากได้รับเอกสาร Certificate of Origin (CO) แล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การลงทะเบียนรับรองเอกสารการค้า (CF)
เอกสารประกอบการยื่นขอใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า
1. ใบตราส่งสินค้า (Bill of Lading : B/L หรือ Air Waybill : AWB )
2. ใบบัญชีราคาสินค้า : ใบกำกับสินค้า (Invoice)
ข้อมูลที่ควรปรากฏในใบบัญชีราคาสินค้า : ใบกำกับสินค้า (INVOICE)
1. INVOICE NO. AND DATE
2. ระบุต้นทางปลายทาง (FROM BANGKOK TO……..)
3. ระบุชื่อเรือ หรือ AIR FREIGHT หรือ BY TRUCK
4. รายการสินค้า
5. ปริมาณสินค้าและน้ำหนักสินค้า
6. เครื่องหมายหีบห่อ
7. แหล่งกำเนิดของสินค้า
1. INVOICE NO. AND DATE
2. ระบุต้นทางปลายทาง (FROM BANGKOK TO……..)
3. ระบุชื่อเรือ หรือ AIR FREIGHT หรือ BY TRUCK
4. รายการสินค้า
5. ปริมาณสินค้าและน้ำหนักสินค้า
6. เครื่องหมายหีบห่อ
7. แหล่งกำเนิดของสินค้า
อัตราค่าบริการ
ค่ารับรองเอกสารทั่วไปทางการค้า (Certifying Other Trade Documents:CF)
สมาชิก 240 บาท / ชุด ไม่เป็นสมาชิก 300 บาท / ชุด
สถานที่ในการติดต่อ
สำนักงานใหญ่ (ศูนย์ราชบพิธ)
150 ถนนราชบพิธ แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
ฝ่ายรับรองเอกสารเพื่อการส่งออก หอการค้าไทย
โทรศัพท์ 0 2018 6888 กด 1200, 1210, 1120
E-mail: [email protected]
ส่วนงานทะเบียน โทรศัพท์ 0 2018 6888 ต่อ 5270, 5280
อ้างอิง https://www.thaichamber.org
Share This :
More News & Events :
-
5 ท่าเรือสำคัญในประเทศไทย 18 Nov 2024
-
Fulfillment คืออะไร 23 Aug 2024
-
SHOCKWATCH คืออะไร 02 Aug 2024
-
Phytosanitary Certificate คืออะไร 17 Jul 2024
-
ชนิดและขนาดของตู้คอนเทนเนอร์ 04 Jul 2024
-
Freight Forwarder services 23 Feb 2024
-
ผู้ที่ีมีส่วนเกี่ยวข้องในการขนส่งทางอากาศ 09 Feb 2024
-
10_บริษัทขนส่งตู้คอนเทนเนอร์ชั้นนำ 26 Jan 2024
-
NVOCC 12 Jan 2024
-
ประเภทของเรือขนส่งสินค้า 13 Dec 2023
-
การขนส่งทางอากาศ 01 Dec 2023
-
ป้ายทะเบียนรถ 27 Nov 2023
-
☢️สินค้าอันตรายกับการขนส่งภายในประเทศ☢️ 10 Nov 2023
-
BOI คืออะไร ? 22 Sep 2023
-
HS CODE ( Harmonized System ) หรือ พิกัดศุลกากร 24 Aug 2023
-
Excepted quantities (EQ) คืออะไร 23 Jun 2023
-
สินค้าส่งออกของไทยที่ต่างชาติชื่นชอบ 09 Jun 2023
-
การประกันภัยขนส่งสินค้า (Cargo Insurance) 05 May 2023
-
รู้จัก 6 เส้นทางขนส่งผลไม้ไทยไปจีน 10 Mar 2023
-
ค่าธรรมเนียมกรมศุลฯที่ผู้นำเข้า-ส่งออกต้องรู้ 08 Dec 2022
-
Reverse Logistics กระบวนการโลจิสติกส์ย้อนกลับ 11 Nov 2022
-
ฐานความผิดสำคัญทางศุลกากร 28 Oct 2022
-
ความตกลงเขตการค้าเสรีของประเทศไทย 14 Oct 2022
-
ความหมายและผลกระทบของ เขตการค้าเสรี 30 Sep 2022
-
แนวคิด Kaizen กับกระบวนการทางโลจิสติกส์ 26 Aug 2022
-
ประโยชน์ของเทคโนโลยี RFID ในกิจกรรมทางโลจิสติกส์ 05 Aug 2022
-
ULD อุปกรณ์บรรทุกสินค้าสำหรับเครื่องบิน 22 Jul 2022
-
บทบาทของผู้มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางโลจิสติกส์ 08 Jul 2022
-
ระบบ LEAN กับโลจิสติกส์ 29 Apr 2022
-
ระบบการขนส่งแบบ MILK RUN 11 Apr 2022
-
การขนส่งข้ามพรมแดน 25 Mar 2022
-
ขนส่งทางราง 15 Mar 2022
-
ระบบ Automation กับธุรกิจโลจิสติกส์ 25 Feb 2022
-
เทคโนโลยี 5G กับ โลจิสติกส์ 11 Feb 2022
-
RCEP คืออะไร? 28 Jan 2022
-
ขั้นตอนนำเข้าสัตว์เลี้ยง(สุนัขและแมว) 14 Jan 2022
-
EEC คืออะไร? 29 Oct 2021
-
คลังสินค้าทัณฑ์บน(Bonded Warehouse) 30 Jul 2021
-
4 ปัจจัยที่สำคัญที่ต้องพิจารณาสำหรับการขนส่ง 09 Jul 2021
-
กฎหมายควรรู้เกี่ยวกับการนำเข้า-ส่งออกสัตว์น้ำ 02 Jul 2021
-
การบริหารความเสี่ยงในการนำเข้าส่งออกสินค้า 04 Jun 2021
-
รูปแบบของการว่าจ้างขนส่งสินค้าทางทะเล 14 May 2021
-
การ Enter เอกสารคืออะไร? 07 May 2021
-
Elastic Logistics คืออะไร? 30 Apr 2021
-
ความรู้เกี่ยวกับตารางการเดินเรือ 23 Apr 2021
-
การขนส่งทางรถแบบ FTL และ LTL แตกต่างกันอย่างไร? 16 Apr 2021
-
การคำนวนราคาหาราคาศุลกากรและภาษีอากรนำเข้า 09 Apr 2021
-
คุณรู้จัก CROSS BORDER หรือไม่? 02 Apr 2021
-
SOC และ COC คืออะไร? 19 Mar 2021
-
INTERMODAL & MULTIMODAL แตกต่างกันอย่างไร? 05 Mar 2021
-
การคำนวนภาษีนำเข้า 25 Feb 2021
-
การตรวจสอบอัตราอากรขาเข้าและใบอนุญาตนำเข้า 19 Feb 2021
-
HS CODE ของสินค้าเช็คอย่างไร? 17 Feb 2021
-
การตรวจสอบ Form E ก่อนดำเนินพิธีการศุลกากร 05 Feb 2021
-
พิธีการนำเข้าสินค้าเบื้องต้น 22 Jan 2021
-
อยากนำเข้าหรือส่งออกต้องรู้อะไรบ้าง? 09 Dec 2020
-
Demurrage & Detention คืออะไร? 18 Nov 2020
-
กลุ่มสินค้าส่งออกยอดนิยมยุค New Normal 06 Nov 2020
-
INCOTERM สำคัญต่อการนำเข้า-ส่งออกอย่างไร? 30 Oct 2020
-
ค่า LSS คือค่าอะไร? 16 Oct 2020
-
ค่า LOCAL CHARGE คืออะไร? 09 Oct 2020
-
กรมศุลกากรยกเว้นอากรขาเข้าสินค้ากลุ่มเครื่องจักร 11 Sep 2020
-
การนำเข้ามันสำปะหลัง 08 Sep 2020
-
เครื่องหมาย มอก. บนสินค้าที่ควรรู้! 21 Aug 2020
-
พิกัดรหัสสถิติ 31 Jul 2020
-
การนำเข้า-ส่งออกสินค้าชั่วคราว (A.T.A CARNET) 10 Jul 2020
Why Join EASY DIRECTORY ?
Our members enjoy unparalleled business growth. As the world’s largest referral network,
BNI passed over 2 million referrals last year, resulting in more than ฿700 billion in business.