คุณรู้จัก CROSS BORDER หรือไม่?
- 02 Apr 2021
คุณรู้จัก CROSS BORDER หรือไม่?
CROSS BORDER คือ การค้าข้ามแดน หรือการค้าผ่านแดน เป็นอีกหนึ่งช่องทางของการขนส่งทางโลจิสติกส์ในการนำเข้า-ส่งออกสินค้าจากประเทศต่าง ๆ การค้าผ่านแดน รวมไปถึงการ จัดการพิธีการต่าง ๆ ระว่างประเทศที่มีพรมแดนติดกันกับผู้ส่งออก หรือ แม้กระทั้ง การยินยอมให้มีสินค้าผ่านเขตอาณาจักรของตนเพื่อส่งออกไปประเทศที่สาม เพื่อประโยชน์ซึ่งกันและกัน ตามความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ แต่ต้องปฏิบัติตามระเบียบที่กำหนดไว้ของประเทศนั้น ๆ อย่างเคร่งครัด
ตัวอย่างของการค้าข้ามแดน หรือการค้าผ่านแดน
กรณีการขนส่งสินค้า ผ่านแดน จากประเทศไทยไปยังประเทศสิงคโปร์จะต้องผ่าน ประเทศมาเลเซียก่อน จึงผ่านแดนต่อไปยังสิงคโปร์ได้ มีขั้นตอนในการดำเนิน การในฝั่งประเทศไทยดังต่อไปนี้
1. จัดใบส่งสินค้าขาออก
2. จัดทำใบบัญชีสินค้า
3. จัดทำบัญชีสินค้า (ศ.บ.3)
4. ผ่านศุลกากร ได้รับใบขนส่งสินค้าและตรวจสอบแล้ว โดยกรมศุลกากร
5. ตรวจปล่อยสินค้า และ ผูกตราศุลกากร
6. รับบรรทุกการส่งสินค้านอกราชอาณาจักรไทย
7. ส่งมอบเอกสารสำเนาตรวจปล่อยให้กับผู้ขนสินค้าหรือผู้ขนส่ง เพื่อนำไปดำเนินการผ่านแดนต่อไป
กรณีการดำเนินการนำเข้าสินค้าเพื่อส่งออกผ่านแดน ผ่านทางประเทศมาเลเซียไปยังสิงคโปร์มีเงื่อนไขและขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. ต้องจัดทำใบนำเข้าสินค้านำเข้าผ่านแดนตามแบบฟอร์ม หมายเลข 8 พร้อมยื่นเอกสารส่งออกที่ผ่านการตรวจสอบแล้วจากศุลกากรไทยประกอบด้วย โดยเอกสารนี้จะต้องมีการสำแดงท่าปลายทางที่จะส่งไป
2. ต้องส่งด้วย รถบรรทุก หรือ รถบรรทุกคอนเทนเนอร์ แบบทึบ เท่านั้น
3. ต้องเชื่อมคัทซี(โครงสร้างของรถบรรทุก)กับคอนเทนเนอร์ต่อกันทุกครั้ง/ทุกคัน
4. จะต้องขนส่งด้วยเส้นทางที่ประเทศมาเลเซียกำหนดเท่านั้น
5. รถขนส่งใด ๆ จะต้องเป็นรถที่ได้รับการอนุญาตแล้วเท่านั้น
หลักกฎหมายที่ควรทราบในการนำเข้าหรือส่งออกผ่านแดน ตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469
การส่งออก
มาตรา 45บัญญัติว่า “ก่อนการส่งของใดๆออกนอก ราชอาณาจักร ส่งออกจะต้องปฏิบัติให้ครบถ้วนตาม พระราชบัญญัติ และตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง กับกรมศุลกากร กับต้องยื่นใบขนสินค้าโดยถูกต้อง และ เสียภาษีอากรจนครบถ้วน หรือวางเงินไว้เป็นประกัน การขอวางเงินประกันให้เป็นไปตามที่อธิบดีกำหนด
ในกรณีที่มีการร้องขอและอธิบดีเห็นว่าของใดมีความจำเป็นที่ จะต้องส่งออกนอกราชอาณาจักรโดยรีบด่วน อธิบดีมี อำนาจให้ส่งของนั้นออกไปได้โดยยังไม่ต้องปฏิบัติ ตาม วรรคหนึ่งก่อน แต่ต้องปฏิบัติตามอธิบดีกำหนด และใน กรณีที่อาจจะต้องเสียภาษีอากร ให้วางเงินหรือหลักประกันอย่างอื่นเป็นที่พอใจอธิบดีเพื่อเป็นประกันค่าภาษี อากรด้วย ”
การนำเข้า
มาตรา 40 บัญญัติว่า “ก่อนจะนำของใดๆไปจากอารักขา ศุลกากร ผู้นำเข้าต้องปฏิบัติให้ครบถ้วนตามพระราช บัญญัตินี้ และตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศุลกากร กับ ต้องยื่นใบขนสินค้าโดยถูกต้อง และเสียภาษีอากรจนครบ ถ้วน หรือวางเงินไว้เป็นประกัน การขอวางเงินประกันให้ เป็นไปตามระเบียบที่อธิบดีกำหนด
ในกรณีที่มีการร้องขอและอธิบดีเห็นว่าของใดมีความจำเป็นที่ จะต้องนำออกนอกอารักขาศุลกากรโดยรีบด่วน อธิบดีมี อำนาจให้นำของนั้นไปจากอารักขาศุลกากรได้โดยยังไม่ ต้องปฏิบัติตามวรรคหนึ่งก่อน แต่ต้องปฏิบัติตามอธิบดี กำหนด และในกรณีที่อาจจะต้องเสียภาษีอากร ให้วางเงินหรือหลักประกันอย่างอื่นเป็นที่พอใจอธิบดีเพื่อเป็น ประกันค่าภาษี อากรด้วย ”
การเสียภาษี
- มาตรา 10 บัญญัติว่า บรรดาค่าภาษีนั้น ให้เก็บตามพระราช บัญญัตินี้และตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราอากร การเสียภาษี อากรให้เสียแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในเวลาที่ออกใบขนสินค้าให้
- มาตรา 10 ทวิบัญญัติว่า “ความรับผิดในอันที่ต้องเสีย ภาษีสำหรับ ของที่นำเข้าเกิดขึ้นในเวลาที่นำของเข้าสำเร็จ
- มาตรา 10ตรีบัญญัติว่า “ความรับในอันจะต้องเสีย ภาษีสำหรับของที่ส่งออกเกิดในเวลาที่ส่งของออกสำเร็จ การคำนวณค่าภาษีให้ถือตามสภาพของราคาของ และพิกัด อัตราศุลกากรที่เป็นอยู่ในเวลาที่ออกใบขนสินค้าให้
ท่านำเข้า-ส่งออก
มาตรา 4 บัญญัติว่า “เพื่อความประสงค์แห่งการนำของเข้า หรือส่งของออกศุลกากร ให้รัฐมนตรีมีอำนาจออกกฎกระทรวง
1. กำหนดท่า หรือที่ใดๆในราชอาณาจักรให้เป็นท่าหรือที่ สำหรับการนำเข้าหรือส่งออก ของประเภทใดๆ หรือทุกประเภททางทะเล หรือทางบก หรือทางอากาศ ให้เป็นท่าหรือที่สำหรับขอคืนอากรของที่ทัณฑ์บน ทั้งนี้โดยมีเงื่อนไขตามแต่จะเห็นสมควร
2. กำหนดสนามบินใดๆในราชอาณาจักรให้เป็นสนามบิน ศุลกากร โดยมีเงื่อนตามแต่จะเห็นสมควร
3. ระบุเขตศุลกากร ณ ท่าใด หรือที่ใด หรือสนามบินใดซึ่งกำหนดไว้
แหล่งที่มา : https://bit.ly/3chGoDZ
สนใจขอคำปรึกษา อยากได้คำแนะนำ หรือติดปัญหา สามารถติดต่อทีมงาน Lissom Logisticsได้จากช่องทางข้างล่างนี้
TEL : 02-8959771
MOBILE : 091- 4195466
E – MAIL : [email protected]
WEBSITE : http://www.lissom-logistics.co.th/index.php
Share This :
More News & Events :
-
5 ท่าเรือสำคัญในประเทศไทย 18 Nov 2024
-
Fulfillment คืออะไร 23 Aug 2024
-
SHOCKWATCH คืออะไร 02 Aug 2024
-
Phytosanitary Certificate คืออะไร 17 Jul 2024
-
ชนิดและขนาดของตู้คอนเทนเนอร์ 04 Jul 2024
-
Freight Forwarder services 23 Feb 2024
-
ผู้ที่ีมีส่วนเกี่ยวข้องในการขนส่งทางอากาศ 09 Feb 2024
-
10_บริษัทขนส่งตู้คอนเทนเนอร์ชั้นนำ 26 Jan 2024
-
NVOCC 12 Jan 2024
-
ประเภทของเรือขนส่งสินค้า 13 Dec 2023
-
การขนส่งทางอากาศ 01 Dec 2023
-
ป้ายทะเบียนรถ 27 Nov 2023
-
☢️สินค้าอันตรายกับการขนส่งภายในประเทศ☢️ 10 Nov 2023
-
BOI คืออะไร ? 22 Sep 2023
-
HS CODE ( Harmonized System ) หรือ พิกัดศุลกากร 24 Aug 2023
-
Excepted quantities (EQ) คืออะไร 23 Jun 2023
-
สินค้าส่งออกของไทยที่ต่างชาติชื่นชอบ 09 Jun 2023
-
การประกันภัยขนส่งสินค้า (Cargo Insurance) 05 May 2023
-
รู้จัก 6 เส้นทางขนส่งผลไม้ไทยไปจีน 10 Mar 2023
-
ค่าธรรมเนียมกรมศุลฯที่ผู้นำเข้า-ส่งออกต้องรู้ 08 Dec 2022
-
Reverse Logistics กระบวนการโลจิสติกส์ย้อนกลับ 11 Nov 2022
-
ฐานความผิดสำคัญทางศุลกากร 28 Oct 2022
-
ความตกลงเขตการค้าเสรีของประเทศไทย 14 Oct 2022
-
ความหมายและผลกระทบของ เขตการค้าเสรี 30 Sep 2022
-
แนวคิด Kaizen กับกระบวนการทางโลจิสติกส์ 26 Aug 2022
-
ประโยชน์ของเทคโนโลยี RFID ในกิจกรรมทางโลจิสติกส์ 05 Aug 2022
-
ULD อุปกรณ์บรรทุกสินค้าสำหรับเครื่องบิน 22 Jul 2022
-
บทบาทของผู้มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางโลจิสติกส์ 08 Jul 2022
-
ระบบ LEAN กับโลจิสติกส์ 29 Apr 2022
-
ระบบการขนส่งแบบ MILK RUN 11 Apr 2022
-
การขนส่งข้ามพรมแดน 25 Mar 2022
-
ขนส่งทางราง 15 Mar 2022
-
ระบบ Automation กับธุรกิจโลจิสติกส์ 25 Feb 2022
-
เทคโนโลยี 5G กับ โลจิสติกส์ 11 Feb 2022
-
RCEP คืออะไร? 28 Jan 2022
-
ขั้นตอนนำเข้าสัตว์เลี้ยง(สุนัขและแมว) 14 Jan 2022
-
EEC คืออะไร? 29 Oct 2021
-
คลังสินค้าทัณฑ์บน(Bonded Warehouse) 30 Jul 2021
-
4 ปัจจัยที่สำคัญที่ต้องพิจารณาสำหรับการขนส่ง 09 Jul 2021
-
กฎหมายควรรู้เกี่ยวกับการนำเข้า-ส่งออกสัตว์น้ำ 02 Jul 2021
-
การบริหารความเสี่ยงในการนำเข้าส่งออกสินค้า 04 Jun 2021
-
รูปแบบของการว่าจ้างขนส่งสินค้าทางทะเล 14 May 2021
-
การ Enter เอกสารคืออะไร? 07 May 2021
-
Elastic Logistics คืออะไร? 30 Apr 2021
-
ความรู้เกี่ยวกับตารางการเดินเรือ 23 Apr 2021
-
การขนส่งทางรถแบบ FTL และ LTL แตกต่างกันอย่างไร? 16 Apr 2021
-
การคำนวนราคาหาราคาศุลกากรและภาษีอากรนำเข้า 09 Apr 2021
-
SOC และ COC คืออะไร? 19 Mar 2021
-
INTERMODAL & MULTIMODAL แตกต่างกันอย่างไร? 05 Mar 2021
-
การคำนวนภาษีนำเข้า 25 Feb 2021
-
การตรวจสอบอัตราอากรขาเข้าและใบอนุญาตนำเข้า 19 Feb 2021
-
HS CODE ของสินค้าเช็คอย่างไร? 17 Feb 2021
-
การตรวจสอบ Form E ก่อนดำเนินพิธีการศุลกากร 05 Feb 2021
-
พิธีการนำเข้าสินค้าเบื้องต้น 22 Jan 2021
-
อยากนำเข้าหรือส่งออกต้องรู้อะไรบ้าง? 09 Dec 2020
-
Demurrage & Detention คืออะไร? 18 Nov 2020
-
กลุ่มสินค้าส่งออกยอดนิยมยุค New Normal 06 Nov 2020
-
INCOTERM สำคัญต่อการนำเข้า-ส่งออกอย่างไร? 30 Oct 2020
-
ค่า LSS คือค่าอะไร? 16 Oct 2020
-
ค่า LOCAL CHARGE คืออะไร? 09 Oct 2020
-
กรมศุลกากรยกเว้นอากรขาเข้าสินค้ากลุ่มเครื่องจักร 11 Sep 2020
-
การนำเข้ามันสำปะหลัง 08 Sep 2020
-
เครื่องหมาย มอก. บนสินค้าที่ควรรู้! 21 Aug 2020
-
พิกัดรหัสสถิติ 31 Jul 2020
-
การนำเข้า-ส่งออกสินค้าชั่วคราว (A.T.A CARNET) 10 Jul 2020
-
FORM JTEPA คืออะไร? 03 Jul 2020
Why Join EASY DIRECTORY ?
Our members enjoy unparalleled business growth. As the world’s largest referral network,
BNI passed over 2 million referrals last year, resulting in more than ฿700 billion in business.