Excepted quantities (EQ) คืออะไร
- 23 Jun 2023
วันนี้ Lissom Logistics อยากมาแบ่งปันความรู้ในเรื่องของ Excepted quantities (EQ) ที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้า - ส่งออก ซึ่งถือเป็นหนึ่งสิ่งที่สำคัญสำหรับผู้ประกอบการ ที่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการของธุรกิจระหว่างประเทศ เนื่องจากมีผลต่อต้นทุนของธุรกิจ ที่ส่งผลโดยตรงต่อกำไรของกิจการ มาทำความรู้จักกันเลยค่ะ
Excepted quantities (EQ) คือ กระบวนการของปริมาณที่ยกเว้น (EQ) ภายใต้กฎข้อบังคับการขนส่งสินค้าอันตราย ICAO (ทางอากาศ) IMDG (ทะเล) และ ADR (ทางถนน) อันเนื่องจากระดับความเสี่ยงของสินค้าอันตรายที่ลดลงตามปริมาณของการขนส่งสินค้าอันตราย ดังนั้นเมื่อขนาดของบรรจุภัณฑ์ชั้นในและชั้นนอกของสินค้าอันตรายมีขนาดไม่เกินเงื่อนไขที่กำหนดในคอลัมน์ที่ 7b ใน Dangerous Goods List ก็จะได้รับการยกเว้นในการปฏิบัติตามข้อบังคับทั้งหมด คงเหลือไว้เพียงแต่ข้อบังคับตามข้อ 1.3 Training, การจำแนกและกลุ่มการบรรจุใน Part 2 (การจำแนก), ข้อกำหนดที่ 4.1.1.1, 4.1.1.2, 4.1.1.4, 4.1.1.4.1 และ 4.1.1.6 ใน Part 4 (การบรรจุ) และการดำเนินการเกี่ยวกับเอกสารตามข้อกำหนดที่ 5.4 โดยในส่วนที่ยกเว้นออกไปนั้นให้ดำเนินการตามข้อบังคับที่ 3.5 แทน
ลองพิจารณาดูการขนส่งสินค้าอันตรายภายใต้ข้อยกเว้น EQ นี้จะได้รับข้อยกเว้นหลายอย่าง ที่ช่วยให้ผู้ขนส่งสามารถขนส่งสารปริมาณเล็กน้อยระหว่างประเทศและอนุญาตให้เคลื่อนย้ายโดยไม่ต้องบรรทุกน้ำหนักเต็มตามข้อบังคับ ประโยชน์บางประการของการเคลื่อนย้ายสินค้าตามปริมาณที่ยกเว้น ได้แก่
เช่น ไม่ต้องใช้บรรจุภัณฑ์ที่ได้รับ UN Mark, ไม่ต้องติดฉลากประเภทสินค้าอันตราย, ไม่ต้องติดป้ายสินค้าอันตรายใดๆ ที่ตู้สินค้า หรือแม้กระทั่งไม่ต้องปฏิบัติตามหลักการบรรทุกและแยกสินค้าอันตราย
การทำความเข้าใจเกี่ยวกับปริมาณที่ยกเว้นเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้ส่งสินค้าที่ย้ายสินค้าบนแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซ เมื่อเร็ว ๆ นี้ มีเจลล้างมือจำนวนมากที่กำลังถูกขนส่งไปทั่วโลก ผู้ขนส่งจำนวนมากไม่ทราบว่าเจลทำความสะอาดมือส่วนใหญ่มีส่วนผสมของเอทานอลหรือแอลกอฮอล์ ขึ้นอยู่กับปริมาณของสาร ผลิตภัณฑ์นี้จัดอยู่ในประเภทความเป็นอันตรายสำหรับการขนส่งแม้ในปริมาณเล็กน้อย และนี่คือประโยชน์ของกฎข้อบังคับเกี่ยวกับปริมาณที่ยกเว้น
อย่างไรก็ดี สินค้าอันตรายภายใต้ข้อยกเว้นนี้จะต้องดำเนินการบางประการตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับข้อ 3.5 เช่น ติดเครื่องหมาย EQ ที่บรรจุภัณฑ์ชั้นนอกหรือ Overpack, การระบุ “dangerous goods in excepted quantities” ในเอกสารสำแดงสินค้าอันตราย, รวมทั้งถูกจำกัดการบรรจุในตู้สินค้าไว้ไม่เกิน 1,000 บรรจุภัณฑ์
ตามระเบียบฯ ของท่าเรือกรุงเทพ สินค้าอันตรายกลุ่มที่ 2 ที่ขนส่งภายใต้ข้อยกเว้น EQ จะได้รับข้อยกเว้นให้สามารถฝากเก็บในพื้นที่ท่าเรือกรุงเทพได้
ผู้ใช้บริการสามารถตรวจสอบปริมาณ EQ ของแต่ละ UN ได้ที่ http://check.dgbkp.in.th/
หรือตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ แผนกควบคุมสินค้าอันตราย ท่าเรือกรุงเทพ
โทร: +66 2 269 3148
ที่มา : http://check.dgbkp.in.th/
Share This :
More News & Events :
-
5 ท่าเรือสำคัญในประเทศไทย 18 Nov 2024
-
Fulfillment คืออะไร 23 Aug 2024
-
SHOCKWATCH คืออะไร 02 Aug 2024
-
Phytosanitary Certificate คืออะไร 17 Jul 2024
-
ชนิดและขนาดของตู้คอนเทนเนอร์ 04 Jul 2024
-
Freight Forwarder services 23 Feb 2024
-
ผู้ที่ีมีส่วนเกี่ยวข้องในการขนส่งทางอากาศ 09 Feb 2024
-
10_บริษัทขนส่งตู้คอนเทนเนอร์ชั้นนำ 26 Jan 2024
-
NVOCC 12 Jan 2024
-
ประเภทของเรือขนส่งสินค้า 13 Dec 2023
-
การขนส่งทางอากาศ 01 Dec 2023
-
ป้ายทะเบียนรถ 27 Nov 2023
-
☢️สินค้าอันตรายกับการขนส่งภายในประเทศ☢️ 10 Nov 2023
-
BOI คืออะไร ? 22 Sep 2023
-
HS CODE ( Harmonized System ) หรือ พิกัดศุลกากร 24 Aug 2023
-
สินค้าส่งออกของไทยที่ต่างชาติชื่นชอบ 09 Jun 2023
-
การประกันภัยขนส่งสินค้า (Cargo Insurance) 05 May 2023
-
รู้จัก 6 เส้นทางขนส่งผลไม้ไทยไปจีน 10 Mar 2023
-
ค่าธรรมเนียมกรมศุลฯที่ผู้นำเข้า-ส่งออกต้องรู้ 08 Dec 2022
-
Reverse Logistics กระบวนการโลจิสติกส์ย้อนกลับ 11 Nov 2022
-
ฐานความผิดสำคัญทางศุลกากร 28 Oct 2022
-
ความตกลงเขตการค้าเสรีของประเทศไทย 14 Oct 2022
-
ความหมายและผลกระทบของ เขตการค้าเสรี 30 Sep 2022
-
แนวคิด Kaizen กับกระบวนการทางโลจิสติกส์ 26 Aug 2022
-
ประโยชน์ของเทคโนโลยี RFID ในกิจกรรมทางโลจิสติกส์ 05 Aug 2022
-
ULD อุปกรณ์บรรทุกสินค้าสำหรับเครื่องบิน 22 Jul 2022
-
บทบาทของผู้มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางโลจิสติกส์ 08 Jul 2022
-
ระบบ LEAN กับโลจิสติกส์ 29 Apr 2022
-
ระบบการขนส่งแบบ MILK RUN 11 Apr 2022
-
การขนส่งข้ามพรมแดน 25 Mar 2022
-
ขนส่งทางราง 15 Mar 2022
-
ระบบ Automation กับธุรกิจโลจิสติกส์ 25 Feb 2022
-
เทคโนโลยี 5G กับ โลจิสติกส์ 11 Feb 2022
-
RCEP คืออะไร? 28 Jan 2022
-
ขั้นตอนนำเข้าสัตว์เลี้ยง(สุนัขและแมว) 14 Jan 2022
-
EEC คืออะไร? 29 Oct 2021
-
คลังสินค้าทัณฑ์บน(Bonded Warehouse) 30 Jul 2021
-
4 ปัจจัยที่สำคัญที่ต้องพิจารณาสำหรับการขนส่ง 09 Jul 2021
-
กฎหมายควรรู้เกี่ยวกับการนำเข้า-ส่งออกสัตว์น้ำ 02 Jul 2021
-
การบริหารความเสี่ยงในการนำเข้าส่งออกสินค้า 04 Jun 2021
-
รูปแบบของการว่าจ้างขนส่งสินค้าทางทะเล 14 May 2021
-
การ Enter เอกสารคืออะไร? 07 May 2021
-
Elastic Logistics คืออะไร? 30 Apr 2021
-
ความรู้เกี่ยวกับตารางการเดินเรือ 23 Apr 2021
-
การขนส่งทางรถแบบ FTL และ LTL แตกต่างกันอย่างไร? 16 Apr 2021
-
การคำนวนราคาหาราคาศุลกากรและภาษีอากรนำเข้า 09 Apr 2021
-
คุณรู้จัก CROSS BORDER หรือไม่? 02 Apr 2021
-
SOC และ COC คืออะไร? 19 Mar 2021
-
INTERMODAL & MULTIMODAL แตกต่างกันอย่างไร? 05 Mar 2021
-
การคำนวนภาษีนำเข้า 25 Feb 2021
-
การตรวจสอบอัตราอากรขาเข้าและใบอนุญาตนำเข้า 19 Feb 2021
-
HS CODE ของสินค้าเช็คอย่างไร? 17 Feb 2021
-
การตรวจสอบ Form E ก่อนดำเนินพิธีการศุลกากร 05 Feb 2021
-
พิธีการนำเข้าสินค้าเบื้องต้น 22 Jan 2021
-
อยากนำเข้าหรือส่งออกต้องรู้อะไรบ้าง? 09 Dec 2020
-
Demurrage & Detention คืออะไร? 18 Nov 2020
-
กลุ่มสินค้าส่งออกยอดนิยมยุค New Normal 06 Nov 2020
-
INCOTERM สำคัญต่อการนำเข้า-ส่งออกอย่างไร? 30 Oct 2020
-
ค่า LSS คือค่าอะไร? 16 Oct 2020
-
ค่า LOCAL CHARGE คืออะไร? 09 Oct 2020
-
กรมศุลกากรยกเว้นอากรขาเข้าสินค้ากลุ่มเครื่องจักร 11 Sep 2020
-
การนำเข้ามันสำปะหลัง 08 Sep 2020
-
เครื่องหมาย มอก. บนสินค้าที่ควรรู้! 21 Aug 2020
-
พิกัดรหัสสถิติ 31 Jul 2020
-
การนำเข้า-ส่งออกสินค้าชั่วคราว (A.T.A CARNET) 10 Jul 2020
-
FORM JTEPA คืออะไร? 03 Jul 2020
Why Join EASY DIRECTORY ?
Our members enjoy unparalleled business growth. As the world’s largest referral network,
BNI passed over 2 million referrals last year, resulting in more than ฿700 billion in business.